ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชิ้นส่วน Boiler tube ของโรงไฟฟ้า หรือโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ Boiler ซึ่งส่งผลต่อระบบการผลิต และทำให้ประสิทธิภาพลดลง โดยความเสียหายของชิ้นส่วนทางด้านเครื่องกลไม่ว่าจะเป็น การหัก แตก แหก ระเบิด ล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาหลักของระบบการผลิต แม้จะได้รับการดูแลบำรุงรักษาเป็นอย่างดีแล้วก็ตาม แต่ปัญหาการเกิดความเสียหายยังไม่ได้หมดไป ตราบใดที่ยังมีการใช้งานอยู่ เพียงแต่ทำให้ความเสียหายลดลงเท่านั้น เพราะฉะนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องหลายฝ่ายไม่ว่าจะเป็น วิศวกร ผู้ออกแบบ หรือหน่วยงานวิเคราะห์ความเสียหาย จำเป็นต้องทบทวนและหาแนวทางหรือมาตรการร่วมกัน ซึ้งต้องอาศัยความเชียวชาญเฉพาะด้านจากบุคคลผู้มีประสบการณ์ทั้งในด้าน การตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมิลสภาพ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน ดังนั้น บทความนี้จะขอกล่าวถึง ตัวอย่างความความเสียหายที่มักเกิดขึ้นบ่อยที่สุดสำหรับ Boiler tube และรวมไปถึงสาเหตุความเสียหาย เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการพิจารณาต่อไป
เริ่มจาก การเกิด Overheating
การเกิด Overheating แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
- Short Term Overheating.
- Long Term Overheating.
- Thin-lipped, longitudinal rupture.
- Extensive tube bulging.
- Large fish-mouth appearance.
ตัวอย่างภาพถ่าย Microstructure
สาเหตุการเกิด Short Term Overheating
- Low water level.
- Partial or complete plug gage of tubes.
- Rapid start-up.
- Excessive load swing.
- Excessive heat input.
- Heat transfer imperfect
Long Term Overheating.
- Little to moderate bulging.
- Little to moderate reduction in wall thickness.
- Typically accompanied by thermal oxidation.
- Found in superheatrs, reheaters, waterwalls tube and header
สาเหตุการเกิด Long Term Overheatingตัวอย่างภาพถ่าย Microstructure ที่ 1
ตัวอย่างภาพถ่าย Microstructure ที่ 2
ตัวอย่างภาพถ่าย Microstructure ที่ 3
ตัวอย่างภาพถ่าย Microstructure ที่ 4
- Gradual accumulation of deposits or scale.
- Partially restricted steam or water flow.
- Excessive heat input from burner.
- Undesired channeling of fireside gases.
- Steam blanketing in horizontal or inclined tubes.
- Operation slightly above oxidation limits of given tube steel (454 0C for carbon steel)
สรุปและย่ำอยู่เสมอๆ ว่า การเกิด “Overheating” มักเกิดจากขี้ตะกรันซึ่งเกาะติดบริเวณผิวทั้งภายในและภายนอกท่อ ซึ่งจะทำให้ boiler tube เสียหาย เพราะตะกรันเหล่านี้จะกลายเป็นฉนวนกันความร้อนบริเวณผิวท่อ ทำให้ความสามารถในการถ่ายเทความร้อนลดลง ส่งผลให้โลหะส่วนนั้นเกิดความร้อนสูงเกินไป และเกิดการระเบิดแตกเสียหายในที่สุด แนวทางการแก้ไข คือ การควบคุมสารละลายในน้ำก่อนเข้า Boiler และสุ่มตรวจ replica test อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาความเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างจุลภาคของเนื้อเหล็ก
- Thick-lipped
- Brittle appearance
- Window sections (sometimes) blown out
Concentrated sodium hydroxide mechanism
4NaOH + Fe3O4 >>> 2NaFeO2 + Na2FeO2 + 2H2O
Fe + 2NaOH >>> Na2FeO2 + 2H
4H+ + Fe3C >>> CH4 + 3Fe
ตัวอย่างภาพถ่าย Microstructure
- Short discontinuous intergranular crack
- Decarburization
สาเหตุการเกิด Hydrogen Damage
- Water wall tubes above operating 1,000 psig
- Beneath heavy deposits
- Where corrosion releases atomic hydrogen
Caustic gouging
- NaOH beneath deposits destroys protective magnetite film
- NaOH corrdes base metal
- Also, evaporation along waterline with no deposits
Oxygen attack
- Dissolved O2 yields cathodic depolarization
- Reddish-brown hematite (Fe2O3) or rust deposits or tubercles
- Hemispherical pitting beneath deposits
Thermal fatigue
- Excessive cyclic thermal fluctuations
- Excessive thermal gradients and mechanical constraint
- Low-amplitude vibrations of entire superheater
Flow assisted corrosion
- Localized thinning
- Dissolution of protective oxide and base metal
- Occurs in single or two phase water
- Low pressure system bends in evaporators risers and economizer tube
- Feed water cycle (due to more volatile chemistry and lower pH)
และนี้เป็นเพียงแค่รูปแบบความเสียหายของ boiler tube ที่มักเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ซึ่งอาจมีรูปแบบและลักษณะความเสียอื่นอีกนานัปการที่เกิดขึ้นกับ boiler tube และยังต้องเรียนรู้, ศึกษากันอีกไม่จบสิ้น จึงขอจบการนำเสนอตัวอย่างรูปแบบความเสียหายของ boiler tube เพียงเท่านี้ก่อนนะครับถ้ามีรูปแบบความเสียหายแปลกๆ และหน้าสนใจจะเอามาบอกกล่าวกันให้ทราบในโอกาสต่อไป ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ